ติดต่อเรา
อัลบัมภาพ
ช่องแห่งการเรียนรู้
หน้าแรก
วันที่ 22-25 เมษายน 2568 สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ จัดการอบรม “เพิ่มศักยภาพผู้ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์ เพื่อรองรับการขยายตัวของภาคธุรกิจทางการแพทย์” เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้องประชุม Amber 3 ชั้น 5 โรงแรมแกรนด์ริชมอนด์ สไตลิช คอนเวนชั่น โฮเทล จ.นนทบุรี วันพุธที่ 23 เมษายน 2568 สถาบันวิจัยสมุนไพร ร่วมกับ ศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์สุขภาพตามระบบ OECD GLP กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ จัดโครงการการอบรมหลักปฏิบัติการที่ดีของห้องปฏิบัติการทดสอบผลิตภัณฑ์ ตามหลักการ OECD GLP ประจำปี 2568 (Document No.1, 8, 15, 19, 22 และ 23) เวลา 08.30-17.00 น. ณ โรงแรมแกรนด์ ริชมอนด์ สไตลิช คอนเวนชั่น จ.นนทบุรี วันพฤหัสบดีที่ 24 เมษายน 2568 ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 8 อุดรธานี จัดอบรมภายใต้หัวข้อ "การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ OTOP/SMEs ด้านอาหาร สู่ความยั่งยืน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568" เพื่อพัฒนาศักยภาพและถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับผู้ประกอบการด้านอาหาร และเจ้าหน้าที่ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เวลา 08.30-16.30 น. ณ ห้องประชุมกินรี 1 โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพฯ วันศุกร์ที่ 25 เมษายน 2568 นพ.วัชรพงษ์ คำหล้า รองอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีกำหนดตรวจเยี่ยมศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 1 เชียงใหม่ และติดตามผลการดำเนินงานสวนสมุนไพรกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ดอยสุเทพและแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ วันจันทร์ที่ 28 เมษายน 2568 สำนักเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย สำนักรังสีและเครื่องมือแพทย์ และศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ที่ 6 ชลบุรี จัดกิจกรรมสวดมนต์ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 เวลา 08.00-09.00 น. ณ ห้องพระ ชั้น 9 อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ วันที่ 28-29 เมษายน 2568 สถาบันชีววัตถุ จัดการอบรมฟื้นฟูระบบคุณภาพของสถาบันชีววัตถุ เรื่อง การพัฒนาผู้ตรวจประเมินสำหรับการตรวจประเมินระบบคุณภาพภายในสถาบัน เวลา 08.30 - 16.00 น. ณ ห้องประชุม 110 ชั้น 1 อาคาร 100 ปี การสาธารณสุขไทย กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
ข่าวเผยแพร่สื่อมวลชน
Mar 24, 2017
Mar 22, 2017
Mar 21, 2017
Mar 20, 2017
Mar 13, 2017
Mar 10, 2017
Mar 01, 2017
Feb 24, 2017
Feb 15, 2017
Feb 14, 2017
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เผยข้อมูลการตรวจพบวัตถุกันเสียในเส้นก๋วยเตี๋ยวที่ถูกแชร์กันอย่างแพร่หลายในโลกโซเชียล เป็นข้อมูลเก่าจากงานประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ เมื่อปี 2550 โดยตรวจพบ การใช้วัตถุกันเสียเกินมาตรฐาน 34 ตัวอย่าง จากจำนวนทั้งหมด 92 ตัวอย่าง (ร้อยละ 36) โดยปริมาณที่พบสูงสุด 17,250 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม และจากผลการตรวจวิเคราะห์ล่าสุด ระหว่างปี 2555-2559 พบว่าแนวโน้มการใช้วัตถุกันเสียเกินมาตรฐานลดลง ขอเตือนผู้บริโภคอย่าตื่นตระหนก เนื่องจากวัตถุกันเสีย ได้แก่ กรดซอร์บิคและกรดเบนโซอิค มีความเป็นพิษน้อยมาก และเมื่อผ่านความร้อน โดยการต้ม ลวก หรือนึ่ง จะสลายตัว หากเข้าสู่ร่างกายจะถูกขับออก ทางปัสสาวะได้
Feb 10, 2017
Feb 08, 2017
Feb 06, 2017
Feb 03, 2017
Feb 02, 2017
Jan 27, 2017